โปรแกรมตรวจการทำงานของหัวใจขณะออกกำลังกาย EST
Q : โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง
A : วิธีการตรวจการทำงานของหัวใจขณะออกกำลังกาย (วิ่งสายพาน) เหมาะสำหรับผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ แต่ไม่แสดงอาการผิดปกติ เช่น ผู้สูบบุหรี่จัด, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีระดับไขมันในเลือดสูง, ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
Q : หากไม่ทราบว่าควรตรวจแบบวิธีไหนดี ควรทำอย่างไร
A : แนะนำผู้รับบริการพบแพทย์ด้านหัวใจ เพื่อวินิจฉัยอาการและส่งตรวจเฉพาะทางให้เหมาะสมกับอาการ
Q : อายุเท่าที่ควรตรวจ EST
A : กลุ่มคนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ควรเข้ารับบริการตรวจได้ตั้งแต่อายุ 40 ปีขึ้นไป
Q : มีอาการเจ็บหน้าอก เจ็บบริเวณหัวใจ หรือมีอาการ สามารถเข้ารับการตรวจเลยได้หรือไม่
A : อาการดังกล่าว หรือกลุ่มเสี่ยงควรได้รับการตรวจ ซึ่งจะต้องพบแพทย์เฉพาะทางด้านหัวใจก่อน และส่งตรวจ
Q : ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจ
A : สำหรับโปรแกรมนี้ ระยะเวลาในการตรวจ 15-30 นาที
โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
โปรแกรมตรวจการทำงานของหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ECHO
Q : หากไม่ทราบว่าควรตรวจแบบวิธีไหนดี ควรทำอย่างไร
A : แนะนำผู้รับบริการพบแพทย์ด้านหัวใจ เพื่อวินิจฉัยอาการและส่งตรวจเฉพาะทางให้เหมาะสมกับอาการ
Q : อายุที่ควรตรวจ Echo
A : กลุ่มคนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ควรเข้ารับบริการตรวจได้ตั้งแต่อายุ 40 ปีขึ้นไป
Q : ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจ
A : สำหรับโปรแกรมนี้ ระยะเวลาในการตรวจ 20-40 นาที
โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
โปรแกรมตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา (Event recorder)
Q : โปรแกรมนี้เหมาะสำหรับใครบ้าง
A : เหมาะสำหรับผู้ทีมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ แต่ไม่สามารถตรวจหาสาเหตุได้ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการอย่างน้อย 1 - 2 วันต่ออาการ 1 ครั้ง
Q : ต้องนอนพักฟื้นที่โรงพยาบาลเพื่อรอดูผลหรือไม่
A : เป็นการติดเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมงไว้กับตัว โดยที่สามารถกลับไปพักที่บ้านหรือทำงานได้ตามปกติ โดยไม่ต้องนอนค้างที่โรงพยาบาล
Q : มีกรณีที่ต้องติดเครื่องไว้เกิน 24 ชม.หรือไม่
A : ปกติการตรวจจะติดไว้ 24 ชม.ก็จะทราบความผิดปกติในขณะที่มีอาการ
Q : อายุที่ควรตรวจ Event recorder
A : กลุ่มคนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ควรเข้ารับบริการตรวจได้ตั้งแต่อายุ 40 ปีขึ้นไป
__________________________________
โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง